“ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต”บ้านห้วยลึก เคียนซา สุราษฏร์ธานี

  • photo  , 1000x751 pixel , 187,725 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 167,312 bytes.
  • photo  , 1170x863 pixel , 128,427 bytes.
  • photo  , 1000x797 pixel , 139,668 bytes.
  • photo  , 1000x1298 pixel , 239,484 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 157,685 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 145,081 bytes.
  • photo  , 1000x1332 pixel , 269,794 bytes.
  • photo  , 1000x1332 pixel , 172,553 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 177,091 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 170,734 bytes.
  • photo  , 1000x751 pixel , 219,816 bytes.
  • photo  , 853x960 pixel , 115,441 bytes.
  • photo  , 960x893 pixel , 220,075 bytes.

“ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต”

ถอดบทเรียนกลุ่มข้าวไร่  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนเกษตรบ้านห้วยลึก ต.พ่วงพรหมคร อ.เคียนซา จ.สุราษฎร์ธานี

โดยความร่วมมือร่วมใจขอทุกภาคส่วนในชุมชน

วันที่ 4 พ.ค.65

#สมัชชาสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี

#ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่

#เพจข้าวไร่หลานยาย


ขอบคุณข้อมูลจาก  Facebook  Onuma Choosaeng


เข้าสู่ปีที่ 5 กับการทำงานกับทีมพ่วงพรมคร ที่ชวนขยับกันในเรื่องของข้าวไร่ จุดเริ่มต้นจากปลูกเพื่อกิน เหลือขาย จนมาสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่คุ้กกี้ และเครื่องประทินผิวจากรำข้าวไร่หอมบอน

รอบนี้มาชวนกันแลกเปลี่ยนถอดชุดข้อมูลของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนห้วยลึก แกนหลักสำคัญในการขยาย-พัฒนา ข้าวไร่ชุมชนร่วมกับหลายภาคส่วนมากกว่า 15 องค์กร ทั้งในระดับชุมชน ท้องถิ่น และจังหวัด มีสมาชิกจาก 8 หมู่บ้าน รวม 74 คน ภายในตำบลพ่วงพรมคร มุ่งเน้นผลิตข้าวไร่อินทรีย์ เพื่อสุขภาพ และสืบทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชนในโรงเรียน และการศึกษานอกระบบ

จากผู้ปลูกสู่ผู้ขาย ขยับมาเป็นวิทยากร วันนี้หลายคนเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพราะร่วมเป็นนักวิจัยชุมชนกับศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวฯ และ ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี นับเป็นพัฒนาการขององค์กรชุมชน ที่มีต้นแบบรูปธรรม สร้างความร่วมมือ และขยายการเติบโตของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง


กรรณิการ์  แพแก้ว  บันทึกเรื่องราว

Relate topics