ประชุมพัฒนาโครงการความมั่นคงทางอาหาร "ข้าวตรังหรอยจังหู้"

  • photo  , 1000x564 pixel , 113,218 bytes.
  • photo  , 2048x1155 pixel , 187,351 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 101,360 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 87,179 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 98,345 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 118,731 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 107,308 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 86,255 bytes.
  • photo  , 1000x564 pixel , 96,712 bytes.

ประชุมพัฒนาโครงการความมั่นคงทางอาหาร "ข้าวตรังหรอยจังหู้"

วันที่ 29 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง  สมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง และหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) ตรัง

ชวนเกษตกรทำข้าวนา&ข้าวไร่ ต.นาพละ อ.เมือง ต.นาข้าวเสีย อ.นาโยง ต.แหลมสอมและต.ปะเหลียนใน อ.ปะเหลียน ต.บางดี และ ต.นาวง ต.เขากอบ ต.ห้วยนาง อ.ห้วยยอด ต.เขาไพร อ.รัษฎา ต.บางสัก อ.กันตัง  รวม 10 ตำบล 6 อำเภอ

พัฒนาโครงการ โดยมีภาคียุทธศาสตร์ได้แก่ ชนิตา บุรีรักษ์  สนง.เกษตรและสหกรณ์ สุมนรัตน์ ตรึกตรอง สนง.เกษตรจังหวัด สนง.เกษตร อ.ห้วยยอด สนง.เกษตร อ.เมือง สนง.เกษตร อ.กันตัง สนง.พาณิชย์ ชัยวุฒิ สวัสดิรักษ์ สภาอุตสาหกรรม Chet Nillaor คณะพาณิชย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง และกองสาธารณสุข  องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง ร่วมเป็นทีมวิชาการและวิชาชีพ และนายทวี สัตยาไชย ผู้ทรงคุณวุฒิที่ปรึกษาโหนดเฟลกชิพตรัง  และนายสำราญ สมาธิ ครู ร.ร.ต้นบากราษฏร์บำรุง และนางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์ ผอ.ร.ร.บ้านทุ่งยาว ร่วมเป็นทีมพี่เลี้ยงชุมชน "คนตรัง กินข้าวตรัง"

ตรังปัจจุบัน ผลิตข้าวเพื่อบริโภคได้เพียง 5 เปอร์เซ็นต์  พื้นที่นาในอดีตมีกว่า แสนไร่ ปัจจุบันเหลือหมื่นกว่าไร่ แต่โอกาสคือ ในแต่ละปี จะมีเกษตรล้มยางเพื่อปลูกใหม่ กว่า 2 หมื่นไร่

นัดหมายส่งโครงการ 13 พฤษภาคม 2565

ทั้งนี้ พื้นที่หนองบัว ลาประชุม ด้วยเสี่ยงโควิด  สภาองค์การชุมชนตำบล ติดภารกิจ

#ตรังเมืองคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน

#เรื่องข้าวเราคือผู้เชี่ยวชาญ

นางสุวณี สมาธิ โหนดเฟลกชิพตรัง รายงาน

Relate topics