โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิตด้วยเศรษฐกิจ BCG พื้นที่ตำบลควนโดนและตำบลควนขัน สตูล

  • photo  , 1000x750 pixel , 122,201 bytes.
  • photo  , 2048x1846 pixel , 181,528 bytes.
  • photo  , 1000x750 pixel , 119,913 bytes.
  • photo  , 1073x718 pixel , 56,658 bytes.
  • photo  , 720x864 pixel , 69,976 bytes.

U2T พื้นที่ตำบลควนโดนและตำบลควนขัน โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิตด้วยเศรษฐกิจ BCG

U2T มหาวิทยาลัยสู่ตำบล

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  โดยการมีส่วนร่วม ทั้งภาคประชาชน และภาคบัณฑิต บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

โดยมีวัตถุประสงค์

1.เพิ่มศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุ

2.พัฒนาทักษะผู้ดูแล

3.สร้างงานสร้างอาชีพ

4.พัฒนาฐานข้อมูล

ช่วงเดือนกรกฎาคม 2565  มีการลงสำรวจข้อมูลพื้นที่ ศักยภาพชุมชน เครือข่ายชุมชน แหล่งทรัพยากรชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิเคราะห์ผลกระทบจากโควิด

ปัญหาจากลงพื้นที่

ไม่พบเจ้าของบ้าน ตัองลงพื้นที่ซ้ำ

สัญญาณเน็ตไม่ครอบคลุม ต้องบันทึกและลงข้อมูลภายหลัง

App ไม่เสถียร

ผศ ดร แสงอรุณ อิสระมาลัย  ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป็นเฟส 2 ที่ร่วมทำงาน 1 มหาวิทยาลัย 1 พื้นที่ ไม่ใช่ 1 จังหวัด 1 มหาวิทยาลัย เป็นการนำความรู้สู่ชุมชน เพื่อลงมาทำงานกับพื้นที่ซึ่่งมีผู้ได้รับผลกระทบจากโควิค มีงบสำหรับช่วยเหลือ บัณฑิตจบใหม่ ไม่เกิน 5 ปี และจ้างงานภาคประชาชนที่ว่างงาน
ทั้งประเทศ 7,000 + โครงการ

ในส่วนของ ม.อ. นำความรู้นำผลงานสู่ตำบลโดยการต่อยอด เพื่อยกระดับผลงานวิจัย ปีที่ 3 Platform Imed care เชื่อมโยงการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน รองรับสังคมสูงวัย

ผู้ดูแลเป็นอาชีพที่จำเป็นในสังคม ในอนาคตเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ

ผู้ดูแล ไม่มีความรู้

ผู้ดูแลผ่านการอบรม ค่าใช้จ่ายเยอะ

ความต้องการบางส่วนหรือทำแทน

การสร้างบุคลากรเพื่อทำกิจกรรม มี Profile ในการให้บริการแก่ชุมชน

การดูแลที่จำเป็น 5 กลุ่ม  ได้แก่ ผิวหนัง แผลกดทับ  การเคลื่อนไหว ซึมเศร้า  ทางเดินหายใจ  ทางเดินปัสสาวะ  กล้ามเนื้อและข้อ

ผู้ดูแลต้องผ่านการเรียนรู้ 120 ชม. ฝึกปฎิบัติ ฝึกภาคสนาม ให้บริการ Imed care from ตามมาตรฐานโดยกลุ่มผู้ดูแล จะรวมตัวเป็นวิสาหกิจในชุมชน เพื่อดูแลพี่น้องในชุมชน คาดหวังว่า มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลิตภัณฑ์บริการ อาชีพ

ฐานข้อมูลร่วม บ่งบอกเอกลักษณ์ของพื้นที่ เพื่อการพลิกฟื้นเศรษฐกิจประเทศ ทุนคน ทรัพยากร มองเห็นโอกาสพัฒนาพื้นที่ ให้ไปปรากฏในฐานข้อมูล google earth  เพื่อเป็นการออกแบบพัฒนาประเทศชาติในอนาคต

#คาดหวังต่อยอดแผนการพัฒนาสินค้าและบริการและนวัตกรรมพื้นที่

#ขอบคุณภาพจากน้องพล Pon Sasuk

เปรมยุดา  พัฒชนะ  บันทึกเรืองราว

Relate topics