สรุปรายงานการประชุมประจำปี 2565 ของคณะกรรมการสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา
สรุปรายงานการประชุมประจำปี 2565 ของคณะกรรมการสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา
วันที่ 29 ธันวาคม 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์การเกษตรบางกล่ำ
พิธีเปิดการประชุมโดยประธานและผู้การสหกรณ์การเกษตรบางกล่ำ
ดำเนินรายการโดย ประธานศูนย์บ่มเพาะธุรกิจเพื่อสังคมสงขลาหรื สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา อำเภอบางกล่ำ
ในการประชุม ประธานสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา ได้นำเสนอเพื่อภาพรวมการดำเนินงาน ดังนี้
1.ภาพใหญ่ของมูลนิธิสัมมาชีพ ทั้งประเทศ 80,000 หมู่บ้าน (Road Map สัมมาชีพประเทศไทย)
2.ยุทธศาสตร์สหพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนแห่งประเทศไทย
3.กลไก โครงสร้าง บทบาท กิจกรรมของ TSATA หรือ สมาคมการค้าเกษตรกรรมยั่งยืนแห่งประเทศไทย
4.การจัดตั้งสภาเกษตรอินทรีย์ PGS แห่งประเทศไทย
-ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนระดับตำบล
-การร่วมทำงานของเครือข่าย ของ PGS ประเทศไทย
-โครงสร้างกรรมการสภาเกษตรอินทรีย์ PGS แห่งชาติ
5.สถานะการณ์เกษตรอินทรีย์ไทย และจังหวัดสงขลา
6.การดำเนินงานของสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา ปี 2565
7.แผนโครงการการดำเนินงานของสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา ปี 2566
8.Scale Up ของระบบฐานข้อมูล OAN Platform และการ Maintenance เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับ Big Data ทั้ง 77 จังหวัด
9.การประชุมรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ครั้งที่ 6 หรือ 1/2566 ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566
ช่วงการนำเสนอแลกเปลี่ยนและขอมิติที่ประชุม โดยกรรมการสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลาทุกคน ซึ่งมีว่าพิจารณาดังนี้
1.การจัดทำและปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา ระดับจังหวัด และ ระดับอำเภอ
2.สถานภาพของกลไก SE สงขลาออแกนนิกวิสาหกิจเพื่อสังคม
-โครงสร้างกรรมการ
-บทบาทของ SE
-สมาชิก SE
-ออกแบบโครงสร้างการรูปแบบการจัดการ
-เงินทุนหมุนเวียน เพื่อการจัดการผลผลิต พี่น้องเกษตรกร โดยเน้น การซื้อผลผลิตสมาชิกเป็นเงินสด ในราคา เป็นธรรม เพื่อ สร้างความต่าง ความเชื่อมั่นภาคการผลิตอินทรีย์
-การอบรมให้ความรู้เกษตรกรเรื่อง แผนการผลิต แผนการตลาดล่วงหน้าให้สอดรับกัน
-อบรมธรรมาภิบาลคู่ค้า ให้ทั้ง ผู้เผลิต และผู้ประกอบการ
3.โครงการนำร่อง 4 โซน กลุ่มอำเภอ ของสงขลา เพื่อการจัดตั้ง Organic and wellness Hub of Songkhla ประจำอำเภอ โดยนำร่อง 6 อำเภอ เพื่อสร้างต้นแบบ ดังนี้
-อำเภอบางกล่ำ
-อำเภอรัตภูมิ
-อำเภอหาดใหญ่
-อำเภอสะบ้าย้อย
-อำเภอระโนด
-อำเภอสะเดา
โดย Hub จะใช้โมเดลภาพใหญ่ของ Organic and wellness Hub of Songkhla และ Asian ตามแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะแบบครบห่วงโซ่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โดยมีกิจกรรม ดังนี้
-ศูนย์เรียนรู้ประจำ
-ลานรับซื้อ กระจายสินค้า
-ตลาดเขียว
-การประชุมกิจกรรม
-การอบรมให้ความรู้
-การส่งเสริมเกษตรกร ภาคการผลิต และรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ SDGsPGS
-การจัดทำแผนตลาด กำหนดราคา
-กำหนดสินค้า ทั้งผักผลไม้ แปรรูป และเครื่องปรุง ฯลฯ
-แผนรองรับ โรงแปรูป โรง GMP ห้องเย็น
4.การจัดตั้งโครงสร้างการทำงาน ระดับอำเภอ ระดับตำบล 25-25-25 และเชื่อมโยงการทำงาน กับคณะกรรมการเกษตรกรรมยั่งยืนตำบล
5.กำหนดตารางกิจกรรมตลอดปีของ การดำเนินงานในพื้นที่ ทั้ง 16 อำเภอ
6.แผนการตรวจแปลง รายอำเภอ (ชุมชน โรงเรียน)
7.แผนการขยายพิ้นที่ และการเพิ่มสมาชิกรายอำเภอ (ชุมชน โรงเรียน)
8.การลงพื้นที่สนับสนุน แต่ละอำเภอ (กิจกรรม และการประชุมสัญจร) เพื่อเสริมความเข้มแข็งรายอำเภอ
รายงานโดยสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา
สนับสนุนสถานที่ อาหาร เครื่องดื่ม ในการประชุม โดย สหกรณ์การเกษตรอำเภอบางกล่ำ และกรรมการสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนสงขลา
สนธิกาญจน์ วิโสจสงคราม บันทึกเรื่องราว
Relate topics
- กขป.เขต 12 สุขภาวะกลุ่มเปราะบางทางสังคม
- "กขป.เขต 12 ประเด็นสุขภาวะแม่และเด็ก"
- “สช. สานพลังกลไกคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) ในการจัดทำแผนบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยคุกคามจากบุหรี่ไฟฟ้า ในพื้นที่เขตสุขภาพเพื่อประชาชน”
- ”นครศรีธรรมราชโมเดล ปกป้องเด็กและเยาวชน“
- ตรังเดินหน้า ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ ”รองรับสังคมสูงวัยเต็มรูปแบบ”
- เหลียวหลัง แลหน้า ต่อยอดพัฒนางานสร้างสุขภาคใต้
- คนรุ่นใหม่ร่วมสร้างนิเวศน์ชุมชนในการลดปัจจัยเสี่ยงชุมชนบ้านบือแรง ต.ลาโละ อ.รือเสาะ นราธิวาส
- ประชุมทีม กขป.เขต ๑๒ ชุดเล็ก
- "ประชุมทีมเลขาร่วมกขป.เขต 12"
- นครศรีธรรมราชพร้อม พร้อมขยายความสุข ให้ทั่วจังหวัด