เครือข่ายพื้นที่ยะลากับภารกิจขับเคลื่อนงานลดปัจจัยเสี่ยง NCDs ในประเด็นเหล้าและบุหรี่
วันที่ 29 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมเล็กสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
ทีมงาน NCDs วิทยาลัยสาธารณสุขจังหวัดยะลา ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนล่าง ร่วมกับ เครือข่ายองค์กรงดเหล้าจังหวัดยะลา
เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำงานร่วมกับ ภาคีหน่วยงาน ด้านการลดปัจจัยเสี่ยง NCDs ในประเด็นเหล้าและบุหรี่ในพื้นที่
สำหรับจังหวัดยะลานั้นมีพื้นที่การทำงาน ที่เข้มข้นในด้านการรณรงค์ งดบุหรี่ มีกิจกรรมชมช่วยเชียร์ ให้พี่น้องในชุมชนพื้นที่รามัน ได้ตระหนักถึง โทษของบุหรี่และแอลกอฮอล์
มีพื้นที่มัสยิดต้นแบบปลอดบุหรี่ ชุมชนคนงดบุหรี่ โดยการทำงานร่วมกับ ผู้นำศาสนา โรงพยาบาลรามัน รพ.สต.เกะรอและ ภาคประชาสังคมในพื้นที่ ร่วมติดตามผลการลดบุหรี่ในชุมชน โดยผ่าน รูปแบบกิจกรรมต่างๆ เช่น การวิ่งออกกำลังกายเก็บขยะในชุมชน , การรณรงค์ลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลรายอ ,กิจกรรมการวิ่งพักปอด , กิจกรรมการตรวจสุขภาพวัดค่าคาร์บอนในปอด รวมถึงการให้กำลังใจแก่ผู้งดบุหรี่ งดเหล้าอย่างต่อเนื่อง ที่สำคัญ คือ การปลูกฝังเรื่องการเป็นจิตอาสาให้แก่เยาวชน การเรียนรู้เรื่องภัยบุหรี่ เหล้า ยาเสพติด ดึงเยาวชนออกจากสุ่มเสี่ยง เข้าสู่กระบวนการทำงานด้านจิตอาสา ผ่านกลุ่มกู้ภัยอิควะรามัน
ขอบคุณข้อมูลจาก เพจ ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคใต้ตอนล่าง - สคล.ใต้ล่าง
ขอบพระคุณทางสาธารณสุขจังหวัดยะลา อนุเคราะห์สถานที่
Relate topics
- สช.ผนึกกำลัง กขป. ทั่วประเทศเคลื่อนงานพัฒนารองรับสังคมสูงวัย มุ่งวางทิศชี้ทาง บูรณาการร่วม-เน้นทำบนฐานข้อมูลพื้นที่เป็นหลัก
- กขป.เขต ๑๒ จัดประชุมสร้างความร่วมมือการดำเนินงานปี ๒๕๖๘
- พมจ.กระบี่ ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน ร่วมออกแบบแผนปฏิบัติการปี 68 มุ่งสู่กระบี่อยู่เย็นเป็นสุข
- สสว.11 ชวนใช้ข้อมูลครัวเรือน(กลุ่มเสี่ยง)จากสมุดพกครอบครัวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อขับเคลื่อนเชิงนโยบายอย่างพุ่งเป้า
- เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพเยาวชน (ขสย.) ชู “ข้อเสนอ 3 ข้อ” ปกป้องเด็กเยาวชนจาก “ภัยบุหรี่ไฟฟ้า” ในเวทีระดมความเห็นภาคีปฏิบัติการพื้นที่ “ภาคใต้”
- 17 ประเด็นที่เห็นจาก NHA17
- "ประชุม กขป.เขต 12 ทีมเล็ก"
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบและกลไกการจัดการพื้นที่ตำบลขอนหาด (ภาคีเครือข่าย สสส.)
- "พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงและกองเลขาแผนงานร่วมทุนฯสงขลา"
- ประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ.2567 “การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P): กุญแจสู่ความสำเร็จของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า”